****************************
ติดตาม YouTube ของโรงเรียน
และ รับชม VDO การสอนดีๆ 👇
กดเลย ✅ http://bit.ly/38qoav0
.
สนใจเรียนกับโรงเรียน กดเพิ่ม LINE@ 👇
กดเลย ✅ http://bit.ly/2TzhdUv
.
****************************
ก่อนอื่นผมต้องบอกก่อน
สำหรับคนที่ไม่คุ้นเคยกับหมวกเซฟตี้
หมวกเซฟตี้ที่จะเล่าให้ฟังต่อไปนี้
จะพูดถึงเฉพาะ
หมวกที่เน้นการป้องกัน
ของตกมากระแทก จากด้านบนนะ
โดยเนื้อหาบางส่วนจะอ้างอิงมาจาก
มอก. หรือ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ครับ
ที่ต้องบอกก่อนเพราะหมวกเซฟตี้หลักๆ
มันจะมี 3 แบบ คือ
1
หมวกกันกระแทกทั่วไป
2
หมวกสำหรับงานอัคคีภัย
3
หมวกที่เน้นการป้องกัน
ของตกมากระแทกจากด้านบน
อ้อ ชื่อทางการมันเรียก“หมวกนิรภัย”นะครับ
เอาละมาเข้าเรื่องกัน
เทคนิคที่ควรดูก่อนก็คือ
1 🎯
ดูก่อนว่าเป็นชนิดใช้งานอะไร
หมวกเซฟตี้แบบกันของตกใส่หัว
เวลาเราไปซื้อจะมีแบ่งเป็น 3 ชนิดคือ
ชนิด E (Electrical)
ใช้ลดแรงกระแทก + ป้องกันไฟฟ้าแรงสูง
(ทนแรงดันทดสอบได้ 20,000 โวลต์)
ชนิด G (General)
ใช้ลดแรงกระแทก + ป้องกันไฟฟ้าแรงต่ำ
(ทนแรงดันทดสอบได้ 2,200 โวลต์)
ชนิด C (Conductive)
ใช้ลดแรงกระแทก อย่างเดียว
2 🎯
มีส่วนประกอบที่สำคัญๆ ของหมวกครบหรือไม่
ที่เราใช้ๆ กัน ถ้าเอาส่วนประกอบครบตาม มอก.
จะมีส่วนประกอบทั้งหมด 5 ส่วนครับ ได้แก่
👉 A.
เปลือกหมวก
คือ ส่วนนอกสุดเลยที่เป็นของแข็
จะมีหลายสีให้เลือกใช้งาน
👉 B.
โครงแขวน
มีหน้าที่ ดูดซับแรงกระแทก โดย
อาจจะมีรองในป้องกันอีกชั้น
👉 C.
ปีกหมวกหรือกะบังหมวก
คือส่วนที่ยื่นออกมาจากหมวก
👉 D.
สายรัดคาง ใช้ รัดบริเวณใต้ค้าง
เพิ่มความกระชับในการใส่
👉 E.
สายรัดศีรษะ ใช้ รัดบริเวณหลังหัวเรา
ให้หัวเรากระชับพอดีไม่หลุด
3 🎯
สีของหมวก ( สีของเปลือกหมวก )
การเลือกใช้งานสีของหมวกนั้
ปกติทั่วไปแล้วเราจะเลือกตาม
ลักษณะงานที่ท
เพื่อให้เวลาเข้าไปทำงาน
สาม
คนๆ นี้ทำงานเกี่ยวกับอะไร
โดยทั่วไปจะเลือกสีแบบนี้คร
❤️ สีขาว
สำหรับ หัวหน้างาน หรือ วิศวกร
❤️ สีเหลือง
สำหรับ พนังงานทั่วไป
❤️ สีแดง
สำหรับ พนังงานดับเพลิง
❤️ สีน้ำเงิน
สำหรับ ช่างไฟฟ้า ช่างไม้
และเจ้าหน้าที่เทคนิคทั่วไป
❤️ สีเขียว
สำหรับ เจ้าหน้าที่
ความปลอดภัยในโร
(จป. นั้นแหละ)
❤️ สีน้ำตาล
สำหรับช่างเชื่อม
❤️ สีเทา
สำหรับคนทั่วไปที่มา
เยี่ยมช
4 🎯
ป้ายอธิบาย
โดยปกติแล้วตัวหมวกจะมีป้าย
หรือตัวหนังสือเขียนอธิบายไ
เป็นหมวกอะไร ชื่ออะไร ใช้ทำอะไร
ผลิตเมื่อไหร่ วิธีใช้และ
ข้อควรระมัดระวัง
ผู้ที่ผลิตคือใคร
พวกนี้ควรจะต้องมีเขียนอธิบ
ไว้ที่หมวกทุกใบ
บางใบก็จะเปะกระดาษไว้
บางใบก็อาจจะเป็นตัวอักษรนู
ต้องลองสังเกตุให้ดีครับ
5 🎯
มาตรฐานการผลิต หรือ มอก. นั้นเอง
ตัวสุดท้ายแล้วที่แนะนำให้ดู
และสำคัญที่สุดคือ
มอก. หรือ มาตรผลิตภัณท์อุตสาหกรรม
ถ้าหมวกไม่มี มอก. อาจจะหมายถึง
ไม่ผ่านการทดสอ
ซึ่งถ้าเรานำมาใช้งานก็อาจเ
คิดสภาพของตกมาใส่
และทะลุโด
ภาพที่เหิกคนไม่สวยเท่าไรครับ
เจ้าตัวหมวกนี้ควรมี มอก. 368-2554
ถ้าใครอยากอ่าน สามารถ เอาหมายเลข มอก
ไปค้นหา ในอินเตอร์เน็ตได้เลยนะ
ปกติจะมีอยู่แล้ว
เอาละก็จบกันไปแล้ว
สำหรับเร
ก็หวังว่าบทความนี้จะพอเป็นประโยชน์
ให้กับคนที่กำลังมองหา
หมวกเซฟตี้กันนะครับ 🙂
เขียนและเรียบเรียงข้อมูล : ฝ่ายวิชาการ
#โรงเรียนศูนย์ฝึกวิชาชีพระ
#ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร #ไฟฟ้า #ช่างไฟ
#ช่างไฟฟ้า #สอนช่างไฟ #ซ่อมไฟ #สายไฟ
#อบรมช่างไฟฟ้าภายในอาคาร