ชิ้นส่วนอุปกรณ์โครงสร้าง
มอเตอร์ 3 เฟส มีอะไรบ้าง
ก่อนจะพันมอเตอร์ 3 เฟส
ปกติเราต้องถอดชิ้นส่วนต่างๆ ออกก่อน
ปกติเราต้องถอดชิ้นส่วนต่างๆ ออกก่อน
ดังนั้นวันนี้ผมจะมาอธิบายนะครับ
ชิ้นส่วนอุปกรณ์โครงสร้าง
ของมอเตอร์แต่ละตัวว่ามีชื่อว่าอะไร ?
และสำคัญยังไง ทำหน้าที่อะไร ?
โครงมอเตอร์ (Motor Frame)
ส่วนเปลือกหุ้มภายนอกของมอเตอร์
และยึดส่วนอยู่กับที่ (Stator)
ส่วนเปลือกหุ้มภายนอกของมอเตอร์
และยึดส่วนอยู่กับที่ (Stator)
ขดลวดสนามแม่เหล็ก (Field Coil)
คือขดลวดที่ถูกพันอยู่กับขั้วแม่เหล็ก
ที่ยึดติดกับโครงมอเตอร์
ทำหน้าที่กำเนิดขั้วแม่เหล็ก
คือขดลวดที่ถูกพันอยู่กับขั้วแม่เหล็ก
ที่ยึดติดกับโครงมอเตอร์
ทำหน้าที่กำเนิดขั้วแม่เหล็ก
สเตเตอร์ (Stator)
เป็นส่วนที่อยู่กับที่ ประกอบด้วย Frame
เป็นโครงภายนอกเพื่อเป็นทางเดิน
ของแรงแม่เหล็ก
เป็นส่วนที่อยู่กับที่ ประกอบด้วย Frame
เป็นโครงภายนอกเพื่อเป็นทางเดิน
ของแรงแม่เหล็ก
เนมเพลท (Name Plate) หรือ ป้ายชื่อ
เป็นข้อมูลของทางผู้ผลิต จะประกอบไปด้วย
1. ชื่อรุ่น หรือ ยี่ห้อ ของมอเตอร์
2. มาตรฐาน เช่น CE
3. แรงดันไฟฟ้า (Volt) ซึ่งจะแบ่งตามวิธีการ
ต่อวงจรว่าต่อแบบ Star หรือ Delta
ในการสั่งให้มอเตอร์ทำงาน
4. กระแสไฟฟ้า (Amp) ที่มอเตอร์ใช้งาน
5. ความเร็วรอบ (r/min หรือ RPM)
6. กำลังไฟฟ้าที่ใช้ (kW)
7. ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า Power Factor (P.F.)
8. ประสิทธิภาพของมอเตอร์ เช่น IE2
9. มาตรฐานการป้องกันฝุ่นและน้ำ เช่น IP 55
เป็นข้อมูลของทางผู้ผลิต จะประกอบไปด้วย
1. ชื่อรุ่น หรือ ยี่ห้อ ของมอเตอร์
2. มาตรฐาน เช่น CE
3. แรงดันไฟฟ้า (Volt) ซึ่งจะแบ่งตามวิธีการ
ต่อวงจรว่าต่อแบบ Star หรือ Delta
ในการสั่งให้มอเตอร์ทำงาน
4. กระแสไฟฟ้า (Amp) ที่มอเตอร์ใช้งาน
5. ความเร็วรอบ (r/min หรือ RPM)
6. กำลังไฟฟ้าที่ใช้ (kW)
7. ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า Power Factor (P.F.)
8. ประสิทธิภาพของมอเตอร์ เช่น IE2
9. มาตรฐานการป้องกันฝุ่นและน้ำ เช่น IP 55
สายไฟฟ้า
ส่วนที่ต่อจากปลายขดลวดทองแดง
เพื่อนำมาต่อกับขั้วมอเตอร์
ส่วนที่ต่อจากปลายขดลวดทองแดง
เพื่อนำมาต่อกับขั้วมอเตอร์
ขั้วมอเตอร์ 3 เฟส
ตำแหน่งขั้วป้อนจ่ายไฟ 3 เฟส
ให้มอเตอร์ทำงาน
ตำแหน่งขั้วป้อนจ่ายไฟ 3 เฟส
ให้มอเตอร์ทำงาน
ฝาครอบมอเตอร์ด้านหน้า
ฝาครอบมอเตอร์ด้านหลัง
ฝาครอบมอเตอร์ด้านหลัง
โรเตอร์
ส่วนเคลื่อนที่เพื่อหมุนเพลา
แล้วจ่ายพลังงานกลออกมา
ส่วนเคลื่อนที่เพื่อหมุนเพลา
แล้วจ่ายพลังงานกลออกมา
ตลับลูกปืน หรือ แบริ่ง (Bearing)
ชิ้นส่วนที่ใช้รองรับการเคลื่อนที่
เพื่อลดการเสียดทานและรับน้ำหนักของเพลา
ให้ทำงานเที่ยงตรงในแนวรัศมี และแนวแกน
ชิ้นส่วนที่ใช้รองรับการเคลื่อนที่
เพื่อลดการเสียดทานและรับน้ำหนักของเพลา
ให้ทำงานเที่ยงตรงในแนวรัศมี และแนวแกน
เรียบเรียงเนื้อหา โดย : แผนกวิชาการ